วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ข้อสอบปลายภาค

ให้นักเรียนตอบข้อสอบลงในWeblog ของนักเรียนแต่ละคน
คำสั่ง ให้นักเรียนทำข้อสอบโดยการแสดงความคิดเห็นสะท้อนข้อคิดพร้อมยกตัวอย่างประกอบในการแสดงความคิดเห็นให้เป็นเหตุเป็นผลของผู้เรียน อาจารย์จะอ่านข้อคิดเห็นที่เป็นเหตุเป็นผลต่อกัน เขียนในWeblog ให้ชวนอ่าน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ข้อที่ 1 กรณีที่เกิดความวุ่ยวายของบ้านเมืองโดยเฉพาะผู้นำประเทศที่ผ่านมา ท่านในฐานะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะแสดงความคิดเห็น อดีตนายกทักษิณ ทั้งข้อดีและข้อเสียของท่าน หากพิจารณาข้อดีและข้อเสียท่านจะนำมาสอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดที่จะเป็นผู้นำที่ดีได้อย่างไร
ตอบจากเหตุการณ์บ้านเมืองที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าส่งผลกระทบต่อประเทศมากโดยจะเห็นได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าว เกิดจากอดีตนายกทักษิณ แต่ท่านก็มีข้อดีและข้อเสียคือ

ข้อดี ในระหว่างที่ทานเป็นนายกท่านก็พัฒนาประเทศและเศรษฐกิจของประเทศไปได้ด้วยดี เช่น ยางพาราราคาดีขึ้น เงินเดือนของข้าราชการได้มากขึ้น ด้านสุขภาพของประชาชนก็มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรคช่วยเหลือ แต่ค่าครองชีพแพงขึ้น
ข้อเสียท่านได้ทำผิดโดยการโกงประเทศชาติ ลบหลู่สถาบันพระมหากษัตริย์ทำให้ประชาชนแตกแยกเป็นการที่ไม่สมควรทำเพราะการกระทำขนาดนี้แค่คิดก็ผิดแล้ว จากการกรระทำดังกล่าว
ดิฉันจะนำมาสอนผู้เรียนโดยการสมมุติสถานการณ์เหตุการณ์ขึ้นมา และจะสอดแทรกว่าการเป็นผู้นำที่ดีควรยึดหลักการกระทำอย่างไรควรเป็นแบบไหนและจะการกระทำทุกอย่างที่เราทำไปคนอื่นอาจไม่เห็นสักวันอาจรู้ก็ได้ คนเร่าอย่ามองคนแค่ภายนออก และให้นำส่วนดีของท่านมาใช่มาปรับปรุงและพัฒนามาใช้กับตัวเอนและส่วนร่วมให้ดีขึ้น
ข้อที่2 การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่จะให้มีประสิทธิภาพท่านจะมีวิธีคิดอย่างไรหากท่านเป็นครูที่ดีควรเตรียมการเป็นที่ครูที่ดีอย่างไรให้ท่านแสดงความคิดเห็นของท่านเอง

ตอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพนั้น ดิฉันคิดว่ารูปแบบของการจัดการเรียนการสอนนั้นมีข้อดีในตัวเองอยู่แล้ว อยู่ที่ว่าครูอย่างเราในอนาคตจะเลือกใช้รูปแบบใดไปใช้จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนเพราะนักเรียนแต่ละวัยแต่ละห้องไม่เหมือนกันดังนั้นดิฉันคิดว่าจะจัดการเรียนการสอนแบบให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆไม่ว่าจะเป็นการจัดห้องเรียน ข้อตกลงระหว่างเรียน เพราะการกระทำแบบนี้จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้สึกว่าตัวเองเป็นเจ้าของห้องเรียนนี้จะทำให้ผู้เรียนตั้งใจเรียนมากขึ้นและผู้สอนสามารถควบคุมชั้นเรียนได้ส่วนการเตรียมการสอนดิฉันจะจัดทำแผนให้เหมาะสมกับชั้นนั้นๆ และเตรียมการสอนมาก่อนจะเข้าสอน
ข้อที่ 3 ในฐานะท่านเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะนำนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนมาใช้การเรียนการสอนแบบใหม่ได้อย่างไร
ตอบในฐานะที่ดิฉันเป็นครูพันใหม่ ดิฉันจะนำความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมต่างๆ ไปสอนผู้เรียนอย่างเช่น การเรียนรู้ผ่านทาง weblog การเรียนรู้ผ่านทางE-book GSP และนวัตกรรมอื่นๆที่ไม่ได้กล่าวถึง เพราะดิฉันคิดว่าเรานำนวัตกรรมดังกล่าวมาสอดแทรกในการเรียนการสอนจะทำให้นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู้มากยิ่งขึ้น
และยังเป็นนวัตกรรมที่ทันสมัยแล้วยังทำให้เด็กมีความรู้ที่ทันสมัยมากขึ้นแน่นอน
ข้อที่ 4 การประกันคุณภาพมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการในชั้นเรียนได้อย่างไร
ตอบดิฉันคิดว่า

1. การประกันคุณภาพมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการในชั้นเรียนมาก เพราะการประคุณภาพจะเป็นตัวบ่งบอกถึงคุณภาพของสถานศึกษาว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดเพราะสถานศึกษาจะต้องสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริหารการศึกษา ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัดการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและและตรงตามหลักสูตรที่กระทรวงการศึกษาที่กำหนดเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณภาพ มากขึ้น
2. จะทำให้ประชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความมั่นใจว่าสถานจัดการศึกษาจะจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรที่กำหนด เลือกใช้ บริการสถานศึกษาที่มีคุณภาพและไว้วางใจให้ลูกหลาน เข้าศึกษาในสถานศึกษานั้น
3. มีผลดีต่อนักเรียนที่จบจากโรงเรียนเพราะหน่วยงานต่างๆมีความเชื่อมันในคุณภาพของผู้เรียน
4. ครูมีประสิทธิภาพมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้แล้วพัฒนาตนเองและผู้เรียนอย่างต่อเนืองทำให้เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองและชุมชน
5. สถานศึกษามีแผนการประกันคุณภาพภายในเป็นประจำทุกปีเพื่อให้ ตรงตามมาตรฐาน กำหนดระบบควบคุมคุณภาพและทำงานตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 5 ให้ผู้เรียนประเมินผู้สอนทั้งข้อดีข้อเสียและข้อเสนอแนะเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป

ตอบข้อดีของอาจารย์

-เป็นคนตรงเวลา
-แต่งการสุภาพ
-พูดจาสุภาพ
-ให้เวลาแก่ผู้เรียนเพียงพอ
       ข้อเสียข้องอาจารย์
-ในการทำงานส่งอาจารย์นักศึกษาไม่มีโน๊ตบุ๊ค
-ให้เวลาทำน้อยเกินไป
-ในการที่อาจารย์ให้ทำงานที่หอไม่มี สัญญาณอินเตอร์เน็ต
       ข้อเสนอแนะ
-ในการสอนให้อาจารย์ไปสอนที่ห้องที่มีคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักศึกษา
-ให้เวลาในการทำให้มากกว่านี้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น